วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2558

ลูกกลองปู่เจ่ พ่อครูมานพ ยาระณะ

ลูกกลองปู่เจ่ พ่อครูมานพ ยาระณะ (ผศ.สมภพ  เพ็ญจันทร์ บันทึก 23 กันยายน 2557)
1.        ปะเทิ่ง ๆๆๆ
4
2.        ป๊ะ ปะเทิ่ง,  ปุ ปะเทิ่ง
4
3.        เปิ่ง อะ ปะ เทิ่ง  (เชื่อม)
4
4.        ปะเทิ่ง ๆๆๆๆๆๆๆ
8
5.        ปะเทิ่ง เปิ่งปุ
4
6.        ปุ ๆๆๆๆๆๆๆ
8
7.        ติ้ว ดิ๋ว  ๆๆๆๆๆๆๆ
8
8.        เปิ่ง อะ ปะ เทิ่ง  (เชื่อม)
4
9.        กะโต้ง ๆๆๆๆๆๆๆ กะโต้งกะโต้ง(โฮง)                  (ฉาบ-เขียดโขด)
8
10.     (โฮง) ๆๆๆๆๆๆๆ
8
11.     กะโต้ง ๆๆๆๆๆ กะโต้งกะโต้ง (โฮง)
6
12.     (โฮง) ๆๆๆๆๆ
6
13.     กะโต้ง ๆๆๆ กะโต้งกะโต้ง โฮง
4
14.     (โฮง) ๆๆๆ
4
15.     กะโต้ง ๆๆ กะโต้งกะโต้ง (โฮง)
3
16.     (โฮง) ๆๆ
3
17.     กะโต้ง ๆ กะโต้งกะโต้ง (โฮง)
2
18.     (โฮง)
2
19.     กะโต้งกะโต้ง (โฮง)
4
20.     (โฮง) ๆๆๆ
4
21.     เปิ่ง อะ ปะ เทิ่ง  (เชื่อม)
4
22.     ปู่ติ๊ดกิ๋นปู๋                                              (ฉาบ-อะแหล่มแต่มแตะ)
4
23.     กิ๋นปู๋ ๆๆๆๆๆๆๆ
8
24.     เปิ่ง อะ ปะ เทิ่ง  (เชื่อม)
4
25.     พุทธะโสโก                                                  (ฉาบ-เขียดโขด)
4
26.     โสโก
8
27.     นะ โม พุท ธา ยะ (จังหวะยก)
4
28.     เปิ่ง อะ ปะ เทิ่ง  (เชื่อม)
4
29.     เซาะแต๊ะตึงบ่ปะ                                    (ฉาบ-อะแหล่มแต่มแตะ)
4
30.     บ่ปะ ๆๆๆๆๆๆๆ
8
31.     เปิ่ง อะ ปะ เทิ่ง  (เชื่อม)
4
32.     กะโต้ง ๆๆๆๆๆ กะโต้ง กะโต้ง (โฮง)
4
33.     (โฮง) ๆๆๆ
4
34.     กะโต้ง ๆๆๆๆๆ กะโต้ง กะโต้ง (โฮง)
3
35.     (โฮง) ๆๆๆๆๆๆๆ
3
36.     กะโต้ง ๆ กะโต้ง กะโต้ง (โฮง)
2
37.     (โฮง)
2
38.     กะโต้ง กะโต้ง โฮง
4
39.     (โฮง) ๆๆๆ
4
40.     เปิ่ง อะ ปะ เทิ่ง  (เชื่อม)
4
41.     เปิ่งๆๆๆ ปุ
จบ
เอกสารอ้างอิง
พ่อครูมานพ ยาระณะ , สัมภาษณ์ และควบคุมการบันทึกภาพวิดีโอ ณ วิทยาลัยนาฏศิลปเชียงใหม่, 23 กันยายน 2557.

ท่าฟ้อนหอก ของพ่อครูมานพ ยาระณะ

ท่าฟ้อนหอก
ของพ่อครูมานพ  ยาระณะ  ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๘
ลำดับท่าฟ้อน
๑.      ท่าสางหลวง (เดินออก) วางหอก ท่าไหว้ ท่าตบมะผาบ (มะผาบเก้า) ท่าขอพรแม่พระธรณี
ท่าฟ้อนยุ่ม (สาวไหมหน้อย) ท่ากวางเหลียว
๒.      ท่าจับหอก
๓.      ท่าไขอก
๔.      ท่าสนเก๊าสนป๋าย
๕.      ท่าบิดบัวบาน
๖.      ท่าย่างสามขุม สางหลวงไปขวา, ท่าย่างสามขุม สางหลวงไปซ้าย
๗.      ท่าหอกปรมะ (อ้อนป๋ารมี)
๘.      ท่าหอกต่างด้าม
๙.      ท่าหอกเกิ้ดหาญ
๑๐.  ท่าหอกบูชาตะวัน
๑๑.  ท่าหลดศอกซ้ายข้ามหอก, ท่าหลดศอกขวาข้ามหอก (ท่าลดศอกข้ามหอก)
๑๒.  ท่าสางเกิ่งไปขวา ติดกะขวา, ท่าสางเกิ่งไปซ้าย ติดกะซ้าย (ท่าพร้อมที่จะต่อสู้)
ท่าสางเกิ่งกลับที่เดิม ท่าติดกะด้านตรง, ขวาทับซ้าย
๑๓.  ท่าเขยาะก๋าแทงขวา
๑๔.  ท่าออกวงเกวี๋ยนซ้าย
๑๕.  ท่ากวางเหลียว  (ท่าสางเกิ่งกลับที่เดิม)
๑๖.  ท่าเขยาะก๋าแทงซ้าย
๑๗.  ท่าออกวงเกวี๋ยนขวา
๑๘.  ท่ากวางเหลียว  (ท่าสางเกิ่งกลับที่เดิม)
๑๙.  ท่าฉีกอก, ลงหอก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมภพ เพ็ญจันทร์....บันทึก

๓ ธันวาคม ๒๕๕๗

ท่าฟ้อนดาบของพ่อครูคำ กาไวย์

ท่าฟ้อนดาบของพ่อครูคำ  กาไวย์ ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕
(ทั้งหมด ๓๒ ท่า)

(ท่าเริ่มต้น) 
กราบดาบ ๓ ครั้ง, ลุกขึ้นเดินรอบดาบ, ตบมะผาบ ๑๘ ครั้ง (มะผาบจ๊างต้อดงวง),
เกี้ยวเกล้าเดินรอบดาบ, นั่งลงไหว้, จับดาบ, แทงดาบขึ้นไหว้เหนือศีรษะ (ซุยดาบ)
ทำท่าบวกดาบทางขวา, บวกดาบทางซ้าย, แล้วลุกขึ้นทำท่า ดังนี้
(๑) บิดบัวบาน                   
(๒) เกี้ยวเกล้า
(๓) ล้วงใต้เท้ายกแหลก                  
(๔) มัดแกบก้อมลงวาง
(๕) เสือลากหางเล่นรอก                 
(๖) ช้างงาต้อกต๋งเต็ก
(๗) กำแพงเพ็กดินแตก                   
(๘) ฟ้าแมบบ่ทันหัน
(๙) ช้างงาบานเดินอาด                  
(๑๐) ปลาต้อนหาดเหินเหียน
(๑๑) อินทร์ทือเทียนถ่อมถ้า             
(๑๒) เกิ๋นก่ายฟ้า 
(๑๓) ส้วกก้นพญาอินทร์                 
(๑๔) แซวซูดน้ำบินเหิน 
(๑๕) สางลายเดินเกี้ยวกล่อม             
(๑๖) คีมไฮฮ่อม 
(๑๗) ถีบโฮ๊ง                               
(๑๘) ควงโค้งไหล่สองแขน   
(๑๙) วนแวนล้วงหนีบ                    
(๒๐) ชักรีบแทงสวน 
(๒๑) มนม้วนสีไคล                       
(๒๒) ชักแทงใหม่ถือสัน         
(๒๓) ช้างตกมันหมุนวนเวียนรอบ      
(๒๔) เสือคาบรอกลายแสง 
(๒๕) สินส้น                                
(๒๖) สินป๋าย           
(๒๗) ลายแทง                             
(๒๘) กอดแยง 
(๒๙) แทงวัน                               
(๓๐) ฟันโข่                       
(๓๑) บัวบานโล่                           
(๓๒) ลายสาง  (นบน้อมศอกลงวาง)

หมายเหตุ
๑.      ให้อ่านออกเสียง “กำเมือง” ภาคเหนือ
๒.      อาจเขียนผิดเพี้ยนหรือเพี้ยนเสียงไปบ้าง ต้องตรวจสอบกับพ่อครูคำ และเอกสารอื่นๆ อีกครั้ง เพราะความหมายของบางท่ายังคลุมเครืออยู่บ้าง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมภพ เพ็ญจันทร์

๒๖ กันยายน ๒๕๕๖

ท่าฟ้อนดาบของพ่อครูมานพ ยาระณะ



ท่าฟ้อนดาบของพ่อครูมานพ  ยาระณะ ศิลปินแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๘

๑.กระบวนท่าเริ่มต้น

-ออกด้วยท่าสางหลวง (ท่าสางวงเกวี๋ยน)  แล้ววางดาบลง ไหว้
-ท่าตบมะผาบเก้า  ขอพรแม่พระธรณี เขยาะก๋า ไล่ภัยไป สาวไหมแมงบ้ง ฟ้อนยุ่ม   เช้า สาย บ่าย ค่ำ
-ท่าจับดาบ ขึ้นดาบ   ท่าสางเกิ่ง    ติดก๋ะ
๒.กระบวนท่าฟ้อนดาบ
๒.๑ ท่าปรมะ
๒.๒ ท่าเกิ๊ดหาญ
๒.๓ ท่าต่างด้าม
๒.๔ ท่าบูชาตะวัน
๒.๕ ท่าหลดศอกข้ามดาบ
๒.๖ ท่าสีไคล
๒.๗ ท่าสีไคลปิ้น
๒.๘ ท่าดาบผางประทีป
๒.๙ ท่าต่อยด้าม
๒.๑๐ ท่าแฮ้งตากปีก
๒.๑๑ ท่าแซวซูดน้ำ
๒.๑๒ ท่าหมอกคลุมเมือง
๓.กระบวนท่าจบ
-ท่าลงดาบ


ท่าพิเศษ 
๑. เมื่อถึงท่าบูชาตะวันและท่าต่อยด้าม จะต่อด้วยท่าเขยาะก๋า เกี้ยวเกล้า คาบดาบ หวันแอว ตอกดาบ แทงดาบ ออกวงเกวี๋ยน ติดก๋ะ
๒. เมื่อถึงท่าดาบผางประทีป จะต่อด้วยท่าสูนเก๊าสูนป๋าย เขยาะก๋า เกี้ยวเกล้า คาบดาบ หวันแอว ตอกดาบ แทงดาบ ออกวงเกวี๋ยน ติดก๋ะ
หมายเหตุ
๑.      ให้อ่านออกเสียง “กำเมือง” ภาคเหนือ
๒.      รายละเอียดท่าฟ้อนจะมีมากกว่านี้ ท่าที่ระบุนี้เป็น “ชื่อท่า” หลักๆ เท่านั้น ส่วนการปฏิบัติจะมีรายละเอียดอีกมาก
๓.      เกือบทุกท่ามักจะมี “ท่าสางหลวง” เป็นท่าเชื่อมเสมอ และบางท่าจะมีท่า “ย่างสามขุม” และ “ติดก๋ะ” ด้วย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมภพ เพ็ญจันทร์
๑๘  มกราคม ๒๕๖๒