วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2565

กำหนดการสอนวิชานาฏศิลป์ ป.4

 

กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง

กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (รายวิชา นาฏศิลป์)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ......................................

ชื่อครูผู้สอน ......................................

 

ภาคเรียนที่ 2

สัปดาห์ที่

วัน เดือน ปี

มาตรฐานและตัวชี้วัด

(ปฏิบัติ) – (ทฤษฎี)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

(เรื่องที่สอน)

ระบำ รำ ฟ้อน ที่สอน

(ปฏิบัติ)

1

1 .. 2565

มฐ. 3.1

 

.4/1 ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์

 

(ปฏิบัติ)

หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์

   -การฝึกภาษาท่า

   -การฝึกนาฏยศัพท์

การฝึกนาฏยศัพท์ (1)

-หมวดนามศัพท์ เช่น

วงบน วงหน้า วงล่าง วงกลาง วงพิเศษ วงยักษ์ วงลิง วงพระ

จีบหงาย จีบคว่ำ จีบปรกหน้า จีบปรกข้าง จีบหลัง จีบชายพก จีบล่อแก้ว 

ยกเท้า รวมเท้า เหลื่อมเท้า กระดกหลัง กระดกเสี้ยว ก้าวหน้า ก้าวข้าง ก้าวไขว้

2

8 .. 2565

มฐ. 3.1

 

.4/1 ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์

 

(ปฏิบัติ)

 

หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์

   -การฝึกภาษาท่า

   -การฝึกนาฏยศัพท์

การฝึกนาฏยศัพท์ (2)

 

-หมวดกิริยาศัพท์ เช่น

เอียงคอ ลักคอ กล่อมไหล่ เอียงไหล่ สลัดมือ ม้วนมือ คลายมือ กรายมือ ฉายมือ ปาดมือ รวมมือ เกลียวข้าง เกลียวหน้า ใช้ตัว โย้ตัว ยืด ยุบ กระทบเข่า กระทบก้น ตบเท้า แตะเท้า วางหลัง กระทุ้ง กะเทาะ วางส้น ฉายเท้า ซอยเท้า ขยั่นเท้า สืบเท้า ถัดเท้า ประเท้า

ตะลึกตึก เลาะเลาะ

กระทืบฟัน หย่อง ขึ้น เหลียว ยักคอ เอียงหู 

เปิดปลายคาง ย่อเข่า

กระโดดคว้า เก้ง เหาะ

กระชากเข่า หนีบน่อง

เงื้อ หักข้อมือ ดันปลายเท้า

3

15 .. 2565

ปฏิบัติ

มฐ. 3.1

 

.4/1 ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์

 

(ปฏิบัติ)

หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์

   -การฝึกภาษาท่า

   -การฝึกนาฏยศัพท์

การฝึกภาษาท่า (1)

1. ภาษานาฏศิลป์ซึ่งให้แทนคำพูด เช่น

1.1 ท่ารับ ท่าปฏิเสธ

1.2 ท่าเรียก ท่าสั่ง

1.3 ท่าร้องท้าทายกัน

1.4 ท่าเจรจาพูดคุยกัน

1.5 ท่าที่แสดงคำพูดที่กล่าวถึงบุคคลที่สามหรือบุคคลอื่นๆ

1.6 ท่าที่แสดงคำพูดขยายคำอื่นๆ

4

22 .. 2565

มฐ. 3.1

 

.4/1 ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์

 

(ปฏิบัติ)

 

หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์

   -การฝึกภาษาท่า

   -การฝึกนาฏยศัพท์

การฝึกภาษาท่า (2)

2.ท่าแสดงกิริยาอาการ

2.1 ท่ายืน

2.2 ท่าเดิน   

2.3 ท่านั่ง   

2.4 ท่านอน   

2.5 ท่าถวายบังคม   

2.6 ท่าคลาน   

2.7 ท่าเหาะ   

2.8 ท่าวิ่ง   

2.9 ท่าเหน็ดเหนื่อย

2.10 ท่าเมา เดินเซ   

2.11 ท่าหาวนอน  

3.ท่าแสดงอารมณ์ภายใน

3.1 ท่ารัก   

3.2 ท่าโกรธ   

3.3 ท่าดีใจ หัวเราะ  

3.4 ท่าโศกเศร้า เสียใจ   

3.5 ท่าร้องไห้   

3.6 ท่าร้อนใจ

3.7 ท่าคิดถึง   

3.8 ท่าหวาดกลัว

3.9 ท่าสงสัย   

3.10 ท่าประหลาดใจ

3.11 ท่าอาย   

3.12 ท่าหลงใหล

 

5

29 .. 2565

มฐ. ศ 3.1

 

.4/2 ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครง่ายๆในการถ่ายทอดเรื่องราว

 

(ปฏิบัติ)

-การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบเพลงปลุกใจและเพลงพระราชนิพนธ์

-การใช้ศัพท์ทางการละครในการถ่ายทอดเรื่องราว

 

การใช้ภาษาท่าและ

นาฏยศัพท์ประกอบเพลงปลุกใจ

 

 -เพลงกรุงศรีอยุธยา

6

6 .. 2565

ปฏิบัติ

มฐ. ศ 3.1

 

.4/2 ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครง่ายๆในการถ่ายทอดเรื่องราว

 

(ปฏิบัติ)

-การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบเพลงปลุกใจและเพลงพระราชนิพนธ์

-การใช้ศัพท์ทางการละครในการถ่ายทอดเรื่องราว

 

การใช้ภาษาท่าและ

นาฏยศัพท์ประกอบเพลงพระราชนิพนธ์

 

 -เพลงสายฝน

7

13 .. 2565

มฐ. ศ 3.1

 

.4/2 ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครง่ายๆในการถ่ายทอดเรื่องราว

 

(ปฏิบัติ)

-การใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบเพลงปลุกใจและเพลงพระราชนิพนธ์

-การใช้ศัพท์ทางการละครในการถ่ายทอดเรื่องราว

 

การใช้ศัพท์ทางการละคร (หรือโขน) ในการถ่ายทอดเรื่องราวเช่น

-แก้วหน้าม้า

-ปลาบู่ทอง

-ขุนช้างขุนแผน

-รามเกียรติ์

-หมะเมี้ยะ

-น้อยไจยา

ฯลฯ

8

20 .. 2565

มฐ. ศ 3.1

 

.4/3 แสดงการเคลื่อนไหวในจังหวะต่างๆตามความคิดของตน

 

(ปฏิบัติ)

การประดิษฐ์ท่าทางหรือท่ารำประกอบ

จังหวะพื้นเมือง

จังหวะพื้นเมือง (1)

 

จังหวะพื้นเมืองภาคเหนือ

-จังหวะกลองตึ่งโนง

-จังหวะกลองสะบัดชัย

-จังหวะกลองไชยมงคล

-จังหวะกลองปู่เจ่

-จังหวะกลองมองเซิง

9

27 .. 2565

มฐ. ศ 3.1

 

.4/3 แสดงการเคลื่อนไหวในจังหวะต่างๆตามความคิดของตน

 

(ปฏิบัติ)

การประดิษฐ์ท่าทางหรือท่ารำประกอบ

จังหวะพื้นเมือง

จังหวะพื้นเมือง (2)

 

จังหวะพื้นเมืองภาคกลาง

-จังหวะรำโทน

-จังหวะกลองยาว

 

10

3 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/3 แสดงการเคลื่อนไหวในจังหวะต่างๆตามความคิดของตน

 

(ปฏิบัติ)

การประดิษฐ์ท่าทางหรือท่ารำประกอบ

จังหวะพื้นเมือง

จังหวะพื้นเมือง (3)

 

จังหวะพื้นเมืองภาคอีสานและภาคใต้

-จังหวะกลองอีสาน

(ฟ้อนกะโป๋ ฟ้อนภูไท)

-จังหวะรำมะนาภาคใต้

(รองเง็ง)

 

11

10 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/4 แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่

 

(ปฏิบัติ)

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทคู่และหมู่

   -รำวงมาตรฐาน

   -ระบำ       

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทคู่

-รำวงมาตรฐานเพลง

งามแสงเดือน (1)

 

 

12

17 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/4 แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่

 

(ปฏิบัติ)

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทคู่และหมู่

   -รำวงมาตรฐาน

   -ระบำ

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทคู่

-รำวงมาตรฐานเพลง

งามแสงเดือน (2)

 

 

13

24 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/4 แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่

 

(ปฏิบัติ)

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทคู่และหมู่

   -รำวงมาตรฐาน

   -ระบำ

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทหมู่

ระบำ

(ผู้หญิง) ระบำเชิญพระขวัญ (1)

(ผู้ชาย)  รำกราวเงาะ (1)

14

31 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/4 แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่

 

(ปฏิบัติ)

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทคู่และหมู่

   -รำวงมาตรฐาน

   -ระบำ

การแสดงนาฏศิลป์ประเภทหมู่

ระบำ

(ผู้หญิง) ระบำเชิญพระขวัญ (2)

(ผู้ชาย)  รำกราวเงาะ (2)

 

 

15

7 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/5 เล่าสิ่งที่ชื่นชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสำคัญของเรื่องและลักษณะเด่นของตัวละคร

 

(ปฏิบัติ)

 

การเล่าเรื่อง

   -จุดสำคัญ

   -ลักษณะเด่นของตัวละคร

การเล่าเรื่องโขนหรือละครไทยที่นักเรียนชื่นชอบมาคนละ 1 เรื่อง หรือ 1 ตอน โดยเล่าถึง

-จุดสำคัญของเรื่องหรือตอนนั้น

-ลักษณะเด่นของตัวโขนหรือตัวละครนั้น

16

14 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/1 อธิบายประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์หรือชุดการแสดงอย่างง่ายๆ

 

(ทฤษฎี)

 

ความเป็นมาของนาฏศิลป์ (1)

   -ที่มาของชุดการแสดง

 

17

21 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/1 อธิบายประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์หรือชุดการแสดงอย่างง่ายๆ

 

(ทฤษฎี)

ความเป็นมาของนาฏศิลป์ (2)

   -ที่มาของชุดการแสดง

 

18

28 .. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/2 เปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์กับการแสดงที่มาจากวัฒนธรรมอื่น

(ทฤษฎี)

การชมการแสดง

   -นาฏศิลป์

   -การแสดงของท้องถิ่น

 

19

7 มี.. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/3 อธิบายความสำคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์

 

(ทฤษฎี)

 

ความเป็นมาของนาฏศิลป์

   -การทำความเคารพก่อนเรียนและก่อนแสดง

 

20

14 มี.. 2566

มฐ. ศ 3.1

 

.4/4ระบุเหตุผลที่ควรรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์

 

(ทฤษฎี)

 

ความเป็นมาของนาฏศิลป์

   -คุณค่า

 

 

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น