กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (รายวิชา
นาฏศิลป์)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
โรงเรียน………………………..
ครูผู้สอน..........................
ภาคเรียนที่
2
สัปดาห์ที่ |
วัน เดือน ปี |
มาตรฐานและตัวชี้วัด (ปฏิบัติ) – (ทฤษฎี) |
สาระการเรียนรู้แกนกลาง (เรื่องที่สอน) |
ระบำ รำ ฟ้อน ที่สอน (ปฏิบัติ) |
1 |
1 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ เพลงรำโทน -การเดินจังหวะรำโทน
(ย่ำเท้า) เพลงตามองตา, หล่อจริงนะดารา, ใกล้เข้าไปอีกนิด, ยวนยาเหล, ยวนยวนยวน,
เชิญชวน, ดอกฟ้าร่วง ฯลฯ โดยเดินเป็นวง เวียนซ้ายทวนเข็มนาฬิกา |
2 |
8 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
รำวงมาตรฐาน
เพลงชาวไทย (2) -
การเดินจังหวะรำวงมาตรฐานเพลงชาวไทย (ย่ำเท้า)
และการเดินเป็นวงเวียนซ้าย ทวนเข็มนาฬิกา |
3 |
15 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
รำวงมาตรฐาน เพลงงามแสงเดือนและรำมาซิมารำ (3) -
การเดินจังหวะรำวงมาตรฐานเพลงงามแสงเดือนและรำมาซิมารำ
(ย่ำเท้า) การเดินเป็นวงเวียนซ้าย ทวนเข็มนาฬิกา และการเดินควงคู่ |
4 |
22 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
การเคลื่อนไหวเท้าและมือตามบทเพลงพระราชนิพนธ์
(1) -เพลงพรปีใหม่ |
5 |
29 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
การเคลื่อนไหวเท้าและมือตามบทเพลงพระราชนิพนธ์
-เพลงใกล้รุ่ง
(2) |
6 |
6 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
การเคลื่อนไหวในสถานการณ์สั้นๆ
(1) เช่น
-การเดินออกจากเวที -การวิ่งออกจากเวที -การเดินแปรแถว ฯลฯ |
7 |
13 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
การเคลื่อนไหวในสถานการณ์สั้นๆ
(2) เช่น
-การเดินออกจากเวที -การวิ่งออกจากเวที -การเดินแปรแถว ฯลฯ |
8 |
20 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
การเคลื่อนไหวในสถานการณ์ที่กำหนดให้
(1) เช่น -การเดินแบบร่าเริง -การเดินแบบเศร้าๆ -การวิ่งสูดเท้า -การวิ่งเป็นวงกลม -การวิ่งเป็นเลขแปด ฯลฯ |
9 |
27 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆในสถานการณ์สั้นๆ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ -
รำวงมาตรฐาน -
เพลงพระราชนิพนธ์ -
สถานการณ์สั้นๆ -
สถานการณ์ที่กำหนดให้ |
การเคลื่อนไหวในสถานการณ์ที่กำหนดให้
(2) เช่น
-การเดินแบบร่าเริง -การเดินแบบเศร้าๆ -การวิ่งสูดเท้า -การวิ่งเป็นวงกลม -การวิ่งเป็นเลขแปด ฯลฯ |
10 |
3 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/2 แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -
การฝึกภาษาท่าสื่อ อารมณ์ของมนุษย์ -
การฝึกนาฏยศัพท์ ในส่วนขา |
การฝึกภาษาท่าสื่ออารมณ์ของมนุษย์
(1) -ท่ารัก ท่าอาย ท่าโกรธ ท่าดีใจ ยินดี มีความสุข หัวเราะ
สนุกสนาน ท่าโศกเศร้า เสียใจ ท่าร้องไห้
ท่าร้อนใจ กระวนกระวายใจ ท่าคิดถึง ท่าหวาดกลัว หวั่นหวาด ท่าสงสัย ท่าประหลาดใจ
อัศจรรย์ใจ ท่าหลงใหล เพลงฝึกภาษาท่านาฏศิลป์
ป.3 รำโคม กราวเงาะ ศึกบางระจัน เพื่อนไทย ลาวต่อนก นกเขา จีนรำพัด |
11 |
10 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/2 แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -
การฝึกภาษาท่าสื่อ อารมณ์ของมนุษย์ -
การฝึกนาฏยศัพท์ ในส่วนขา |
การฝึกภาษาท่าสื่ออารมณ์ของมนุษย์
(2) -ท่ารัก ท่าอาย ท่าโกรธ ท่าดีใจ ยินดี มีความสุข หัวเราะ
สนุกสนาน ท่าโศกเศร้า เสียใจ ท่าร้องไห้
ท่าร้อนใจ กระวนกระวายใจ ท่าคิดถึง ท่าหวาดกลัว หวั่นหวาด ท่าสงสัย ท่าประหลาดใจ
อัศจรรย์ใจ ท่าหลงใหล เพลงฝึกภาษาท่านาฏศิลป์
ป.3 รำโคม กราวเงาะ ศึกบางระจัน เพื่อนไทย ลาวต่อนก นกเขา จีนรำพัด |
12 |
17 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/2 แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -
การฝึกภาษาท่าสื่อ อารมณ์ของมนุษย์ -
การฝึกนาฏยศัพท์ ในส่วนขา |
การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนขา
(1) กระดกเท้า
(นั่ง) กระดกเท้า
(ยืน) กระดกเสี้ยว ก้าวเท้าเรียง เก็บเท้าเรียง เก็บเท้า
(ท่าเฉิดฉิน) เก็บเท้า
(ท่ากินริน) เก็บเท้า
(ท่าเรียงหมอน) ก้าวเท้า
(ก้าวหน้า) ก้าวเท้า
(ก้าวข้าง) กระทุ้งเท้า กะเทาะเท้า ขยั่นเท้า จรดเท้า
(ด้วยส้นเท้า) จรดเท้า
(ด้วยปลายเท้า) ฉายเท้า ซอยเท้า เดาะเท้า ตบเท้า แตะเท้า
ก้าวเท้าแตะ แตะเท้าอยู่กับที่ ถัดเท้า ถอนเท้า
(อยู่กับที่) ถอนเท้า
(หัน) ประเท้า ยืด-ยุบ ยกเท้าขวา
(ไว้ข้างหน้า) ยกเท้าซ้าย
(ไว้ข้างหน้า) ยกเท้าขวา
(ไว้ข้างตัว) ยกเท้าซ้าย
(ไว้ข้างตัว) ยกเท้า
(วาง) ยกเท้า
(ที่กระดก) ยืนกระทบ ย่อขา วางส้น วางหลัง สูดเท้า ส่งเข่า เพลงฝึกนาฏยศัพท์ ป.3 รำโคม กราวเงาะ ศึกบางระจัน เพื่อนไทย ลาวต่อนก นกเขา จีนรำพัด |
13 |
24 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/2 แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -
การฝึกภาษาท่าสื่อ อารมณ์ของมนุษย์ -
การฝึกนาฏยศัพท์ ในส่วนขา |
การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนขา
(2) เพลงฝึกนาฏยศัพท์ ป.3 รำโคม กราวเงาะ ศึกบางระจัน เพื่อนไทย ลาวต่อนก นกเขา จีนรำพัด |
14 |
7 ก.พ. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/3 เปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม ป.3/4
มีส่วนร่วมในกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย ทฤษฎี(เปรียบเทียบ) ปฏิบัติ(มีส่วนร่วม) |
หลักในการชมการแสดง -ผู้แสดง -ผู้ชม -การมีส่วนร่วม |
(ทฤษฎี) |
15 |
14 ก.พ. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/3 เปรียบเทียบบทบาทหน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม ป.3/4
มีส่วนร่วมในกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย ทฤษฎี(เปรียบเทียบ) ปฏิบัติ(มีส่วนร่วม) |
หลักในการชมการแสดง -ผู้แสดง -ผู้ชม -การมีส่วนร่วม |
จัดการแสดงในห้องเรียน |
16 |
7 มี.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.3/5 บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน (ทฤษฎี) |
การบูรณาการนาฏศิลป์กับสาระการเรียนรู้อื่นๆ |
|
17 |
14 มี.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.3/1
เล่าการแสดงนาฏศิลป์ที่เคยเห็นในท้องถิ่น (ปฏิบัติ) |
การแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านหรือท้องถิ่นของตน
|
ให้นักเรียนออกมาเล่าการแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านที่เคยเห็นในหมู่บ้าน
ตำบล อำเภอ หรือจังหวัดของตนเอง (1) เช่น
ฟ้อนเล็บ ฟ้อนที ฟ้อนวี ฟ้อนไต ฟ้อนมองเซิง รำชาวเขา ฟ้อนดาบ ฟ้อนหอก
กลองสะบัดชัย กลองไชยมงคล กลองมองเซิง ลิเก จ้าดไต ฯลฯ |
18 |
28 ก.พ. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.3/1
เล่าการแสดงนาฏศิลป์ที่เคยเห็นในท้องถิ่น (ปฏิบัติ) |
การแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านหรือท้องถิ่นของตน |
ให้นักเรียนออกมาเล่าการแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านที่เคยเห็นในหมู่บ้าน
ตำบล อำเภอ หรือจังหวัดของตนเอง (2) |
19 |
7 มี.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.3/2 ระบุสิ่งที่เป็นลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ (ทฤษฎี) |
การแสดงนาฏศิลป์ -ลักษณะ -เอกลักษณ์ |
|
20 |
14 มี.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.3/3 อธิบายความสำคัญของการแสดงนาฏศิลป์ (ทฤษฎี) |
ที่มาของการแสดงนาฏศิลป์ -สิ่งที่เคารพ |
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น