กำหนดการเรียนรู้รายชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (รายวิชา
นาฏศิลป์)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียน..........................
ครูผู้สอน....................................................
ภาคเรียนที่ 2
สัปดาห์ที่ |
วัน เดือน ปี |
มาตรฐานและตัวชี้วัด (ปฏิบัติ) – (ทฤษฎี) |
สาระการเรียนรู้แกนกลาง (เรื่องที่สอน) |
ระบำ รำ ฟ้อน ที่สอน (ปฏิบัติ) |
1 |
1 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/1
เคลื่อนไหวขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ -การนั่ง -การยืน -การเดิน |
การเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ
(1) 1.การเคลื่อนไหวขณะอยู่กับที่
1.1 นั่งอยู่กับที่
(นั่งที่เกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์ เช่น นั่งเป็นวงกลม นั่งเป็นปากพนัง
นั่งหน้ากระดาน นั่งเป็นคู่ ฯลฯ) 1.2 ยืนอยู่กับที่
(ยืนที่เกี่ยวข้องกับนาฏศิลป์ เช่น ยืนเป็นวงกลม ยืนเป็นปากพนัง ยืนหน้ากระดาน
ยืนเป็นคู่ ฯลฯ) |
2 |
8 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/1
เคลื่อนไหวขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ -การนั่ง -การยืน -การเดิน |
การเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ
(2) 2.การเคลื่อนที่ 2.1 การเคลื่อนที่แบบนั่ง (เช่น การคลานเข่า
การคลานแบบละคร พระ-นาง การคลานแบบยักษ์ การคลานแบบลิง ฯลฯ ) |
3 |
15 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/1
เคลื่อนไหวขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่ (ปฏิบัติ) |
การเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ -การนั่ง -การยืน -การเดิน |
การเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ
(3) 2.2 การเคลื่อนที่แบบยืน (เช่น
การเดินแบบธรรมดา การเดินแบบละคร พระ-นาง การเดินแบบโขน พระ นาง ยักษ์ ลิง
การวิ่งแบบตัวโขน-ละคร การเหาะแบบตัวโขน-ละคร การว่ายน้ำแบบตัวโขน-ละคร ฯลฯ) |
4 |
22 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/2 แสดงการเคลื่อนไหวที่สะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ (ปฏิบัติ) |
-การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ -เพลงที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม |
การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ
(1) -เพลงเทพทอง (อยากเป็นกบ) |
5 |
29 พ.ย. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/2 แสดงการเคลื่อนไหวที่สะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ (ปฏิบัติ) |
-การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ -เพลงที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม |
การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ
(2) -เพลงตะลุ่มโปง
(นกเอยนกแก้ว) |
6 |
6 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/2 แสดงการเคลื่อนไหวที่สะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ (ปฏิบัติ) |
-การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ -เพลงที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม |
การประดิษฐ์ท่าจากการเคลื่อนไหวอย่างมีรูปแบบ
(2) -เพลงจีนขวัญอ่อน (ฉันชอบตื่นแต่เช้า) |
7 |
13 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/3
แสดงท่าทาง เพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -การฝึกภาษาท่านาฏศิลป์สื่อความหมายแทนอากัปกิริยา -การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนลำตัว |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์
(1) -การฝึกภาษาท่านาฏศิลป์สื่อความหมายแทนอากัปกิริยา
เช่น -เรารักทุกคน -เราจะไปที่โน่น -เราจะนอนที่นี่ ฯลฯ -ปฏิบัติเพลงที่ใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ |
8 |
20 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/3
แสดงท่าทาง เพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -การฝึกภาษาท่านาฏศิลป์สื่อความหมายแทนอากัปกิริยา -การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนลำตัว |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์
(2) -การฝึกภาษาท่านาฏศิลป์สื่อความหมายแทนอากัปกิริยา
เช่น -นกกำลังบินไป -โน่น
มีม้ากำลังวิ่ง -เธอเห็นกวางมั้ย? ฯลฯ -ปฏิบัติเพลงที่ใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ |
9 |
27 ธ.ค. 2565 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/3
แสดงท่าทาง เพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -การฝึกภาษาท่านาฏศิลป์สื่อความหมายแทนอากัปกิริยา -การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนลำตัว |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์
(3) การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนลำตัว -เอียงไหล่ขวา -เอียงไหล่ซ้าย -หันตัวทางขวา -หันตัวทางซ้าย -หมุนรอบตัว -ยักตัว ฯลฯ |
10 |
3 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/3
แสดงท่าทาง เพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด (ปฏิบัติ) |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์ -การฝึกภาษาท่านาฏศิลป์สื่อความหมายแทนอากัปกิริยา -การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนลำตัว |
หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์
(4) การฝึกนาฏยศัพท์ในส่วนลำตัว -เอียงไหล่ขวา -เอียงไหล่ซ้าย -หันตัวทางขวา -หันตัวทางซ้าย -หมุนรอบตัว -ยักตัว ฯลฯ |
11 |
10 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/4
แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ (ปฏิบัติ) |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ
(1) ปฏิบัติเพลงที่ใช้ภาษาท่านาฏศิลป์และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ -เพลงจับปูดำ |
12 |
17 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/4
แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ (ปฏิบัติ) |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ
(2) ปฏิบัติเพลงที่ใช้ภาษาท่านาฏศิลป์และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ -เพลงจู้ฮุกกรู |
13 |
24 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/4
แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ (ปฏิบัติ) |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ
(3) ปฏิบัติเพลงที่ใช้ภาษาท่านาฏศิลป์และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ -เพลงตาอินกะตานา |
14 |
31 ม.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.1 ป.2/4
แสดงท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ (ปฏิบัติ) |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ |
การใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ
(4) ปฏิบัติเพลงที่ใช้ภาษาท่านาฏศิลป์และนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ -เพลงแว่วเสียงแคน |
15 |
7 ก.พ. 2566 |
มฐ.
ศ 3.1 ป.2/5
ระบุมารยาทในการชมการแสดง (ทฤษฎี) |
มารยาทในการชมการแสดงการเข้าชม
หรือมีส่วนร่วม |
|
16 |
14 ก.พ. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.2/1
ระบุและเล่นการละเล่นพื้นบ้าน (ทฤษฎี-ระบุ) ปฏิบัติ-เล่น) |
การละเล่นพื้นบ้าน -วิธีการเล่น -กติกา |
การละเล่นพื้นบ้าน
(1) การละเล่นพื้นบ้าน ในท้องถิ่นภาคเหนือ เช่น
อีตัก หมากเก็บ เตย กระโดดตาแสง ฯลฯ |
17 |
21 ก.พ. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.2/1
ระบุและเล่นการละเล่นพื้นบ้าน (ทฤษฎี-ระบุ) ปฏิบัติ-เล่น) |
การละเล่นพื้นบ้าน -วิธีการเล่น -กติกา |
การละเล่นพื้นบ้าน
(2) การละเล่นพื้นบ้าน ในท้องถิ่นภาคเหนือ เช่น
อีตัก หมากเก็บ เตย กระโดดตาแสง ฯลฯ |
18 |
28 ก.พ. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.2/1
ระบุและเล่นการละเล่นพื้นบ้าน (ทฤษฎี-ระบุ) ปฏิบัติ-เล่น) |
การละเล่นพื้นบ้าน -วิธีการเล่น -กติกา |
การละเล่นพื้นบ้าน
(3) การละเล่นพื้นบ้าน ในท้องถิ่นภาคเหนือ เช่น
อีตัก หมากเก็บ เตย กระโดดตาแสง ฯลฯ |
19 |
7 มี.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.2/2
เชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับสิ่งที่พบเห็นในการดำรงชีวิตของคนไทย (ทฤษฎี) |
ที่มาของการละเล่นพื้นบ้าน |
|
20 |
14 มี.ค. 2566 |
มฐ. ศ 3.2 ป.2/3
ระบุสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในการละเล่นพื้นบ้าน (ทฤษฎี) |
การละเล่นพื้นบ้าน |
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น